- 1. อสมการการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน ค33101
- 2. การเขียนประโยคสัญลักษณ์ของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ประโยคภาษา ประโยคสัญลักษณ์1) จานวนจานวนหนึ่งมีค่ามากว่าสาม x>32) จานวนหนึ่งมีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับหก x63) สามเท่าของจานวนหนึ่ งบวกด้วยเจ็ดมากกว่าเก้า 3x + 7 > 94) ห้าเท่าของผลบวกของจานวนจานวนหนึ่งกับสองน้อย 5(x + 2) < 8 กว่าแปด5) จานวนจานวนหนึ่งบวกด้วยห้าน้อยกว่าหรื อเท่ากับสิ บ x + 5 106) ผลลบของจานวนจานวนหนึ่งกับเจ็ดไม่เท่ากับสี่ x–7≠ 47) หกบวกกับจานวนจานวนหนึ่งน้อยกว่าแปด 6+x<8
- 3. ตัวอย่าง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1) x – 5 > 3 เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร 2) 3a + 7 < 9 เป็ น อสมการ ที่มี a เป็ นตัวแปร 3) 3m + 1 5 เป็ น อสมการ ที่มี m เป็ นตัวแปร 4) 7 – x < 8 เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร 5) 2x – 1 ≠ 5 เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร 6) x + 4 ไม่เป็ น อสมการ
- 4. การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้สมบัติการไม่เท่ากัน 1. สมบัติการบวก 1.1 จาก 7 > –2 นา 3 มาบวกทั้งสองข้าง 7 + 3 > –2 + 3 10 > 1 (เป็ นจริ ง) 1.2 จาก 7 > –2 นา 3 มาลบทั้งสองข้าง 7 – 3 > –2 – 3 4 > –5 (เป็ นจริ ง)
- 5. 1.3 จาก 7 –2 นา 3 มาลบทั้งสองข้าง 7 – 3 –2 – 3 4 –5 (เป็ นจริ ง) 1.4 จาก –2 < 7 นา 3 มาลบทั้งสองข้าง –2 – 3 < 7– 3 –5 < 4 (เป็ นจริ ง) 1.5 จาก –2 7 นา 8 มาลบทั้งสองข้าง –2 – 8 7 – 8 –10 –2 (เป็ นจริ ง)สมบัติการบวกและการลบเป็ นจริ ง ในเครื่ องหมาย < , >, ,
- 6. 2. สมบัติการคูณ 1.1 จาก 4 > –2 นา 3 มาคูณทั้งสองข้าง 4 × 3 > (–2) × 3 12 > –6 (เป็ นจริ ง) 1.2 จาก 4 > –2 นา –3 มาคูณทั้งสองข้าง 4 ×(–3) < (–2) ×(–3) –12 < 6 (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย > ให้ เป็ น < )ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม
- 7. 1.3 จาก 5 –3 นา 6 มาคูณทั้งสองข้าง 5 × 6 (–3) × 6 30 –18 (เป็ นจริ ง) 1.4 จาก 7 –4 นา –3 มาคูณทั้งสองข้าง 7 ×(–3) (–4) ×(–3) –21 12 (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย ให้ เป็ น )ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม
- 8. 1.5 จาก 8 > –6 นา 2 มาหารทั้งสองข้าง 8 > –6 2 2 4 > –3 (เป็ นจริ ง) 1.6 จาก 8 > –6 นา –2 มาหารทั้งสองข้าง 8 < –6 –2 –2 –4 < 3 (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย > ให้ เป็ น < )ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาหาร จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ หรื อหาร จะต้องมีการปรับเครื่ องหมาย เป็ นตรงข้าม
- 9. ให้พิจารณา ศึกษา การแก้อสมการโดยใช้สมบัติการไม่เท่ากัน1. สมบัติการบวก และรวมถึงการลบ2. สมบัติการคูณ และรวมถึงการหาร ในสมบัติการคูณ และการหาร ต้องระวังการคูณหรื อการหารด้วย จำนวนลบต้องปรับเปลี่ยนเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม เช่น จาก > เปลี่ยนเป็ น < จาก < เปลี่ยนเป็ น > จาก เปลี่ยนเป็ น
- 10. ตัวอย่างที่ 1) จงหาค่า x จากอสมการ x – 4 > – 7การแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไรวิธีทา x – 4 > – 7 (เราต้องตั้งเป้ าหมาย กาจัดจานวนอะไรก่อน) นา 4 มาบวกทั้งสองข้าง x–4 +4 > –7 +4 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย>) x > –3 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า –3 –3 0 (วิธีทาลัด) x – 4 > – 7 (กาจัดจานวน–4 ก่ อน) นา 4 มาบวกทั้งสองข้าง x > –7 +4 (บวก ข้ างซ้ ายเครื่ องหมาย>คือ –4+4 เป็ น 0 ) x > –3 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า –3 –3 0
- 11. ตรวจคาตอบ 1) เลือก x = 0 จากอสมการ x – 4 > – 7 0 –4 >–7 –4 >–7 จริ ง
- 12. ตัวอย่างที่ 2) จงหาค่า x จากอสมการ –2 x < – 8การแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไร วิธีทา –2 x < – 8 (เราต้ องตั้งเป้ าหมาย กาจัดจานวนอะไรก่ อน) นา –2 มาหารทั้งสองข้าง (นาจานวนลบ–2 หารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย <เป็ น>) – 2x > – 8 (หาร แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย) –2 –2 x > 4 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 4 0 4 วิธีลด – 2x < – 8 ั (กาจัดจานวน–2 ก่ อน) นา –2 มาหารทั้งสองข้าง (หาร ข้ างซ้ ายเครื่ องหมาย คือ -2÷(-2) เป็ น 1 ) x > –8 (หาร ข้ างขวาของเครื่ องหมาย) –2 x > 4 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 4 0 4
- 13. ตรวจคาตอบ 2) เลือก x = 5 จากอสมการ –2 x < – 8 – 2 ( 5) < – 8 – 10 < – 8 จริ ง
- 14. ตัวอย่างที่ 3) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 3x + 34 2 – 5xการแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไรวิธีทา 3x + 34 2 – 5x (ซ้ ายกาจัด 34 และขวากาจัด – 5x )นา 34 มาลบ และ นา 5x มาบวกทั้งสองข้าง 3x + 5x 2 – 34 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย) 8x –32 (ซ้ ายกาจัด 8 จึงนา 8ไปหารทั้งสองข้ าง ) x –32 ( นา 8 ไปหาร –32 ได้ –4 ) 8 x –4 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่าหรื อเท่ากับ –4 –4 0
- 15. ตรวจคาตอบ3) เลือก x = 1 จากอสมการ 3 x + 34 2 – 5 x 3 ( 1) + 34 2 – ( 1) 5 3 + 34 2 – 5 37 –3 จริ ง
- 16. ตัวอย่างที่ 4) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 5 – x > 3x + 17วิธีทา 5 – x > 3x + 17 (ซ้ ายกาจัด 5 และขวากาจัด 3x )นา 5 มาลบ และ นา 3x มาลบทั้งสองข้าง –x – 3x > 17 – 5 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย > ) –4x > 12 (ซ้ ายกาจัด–4 นา–4ไปหารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย> ) x < 12 ( นา –4 ไปหาร 12 ได้ –3 ) –4 x < –3 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่นอยกว่า –3 ้ –3 0
- 17. ตรวจคาตอบ4) เลือก x = – 4 จากอสมการ 5 – x > 3 x + 17 5 – ( – 4 ) > 3( – 4 ) + 17 5 + 4 > – 12 + 17 9 > 5 จริ ง
- 18. ตัวอย่างที่ 5) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 3 – 4 (x – 5) < x + 8 แนวคิด มีวงเล็บต้ องใช้ สมบัติแจกแจง a(b + c)=ab +ac หรื อคูณถอดวงเล็บวิธีทา 3 – 4(x – 5) < x + 8 (–4 คูณ x – 5 ถอดวงเล็บได้ –4x + 20 ) 3 – 4x + 20 < x + 8 (ซ้ ายกาจัด 3 และ 20 ขวากาจัด x )นา3มาลบ 20มาลบ และ นา x มาลบ ทั้งสองข้าง –4x – x < 8 – 3 – 20 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย < ) –5x < –15 (ซ้ ายกาจัด–5 นา–5ไปหารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย< ) x > –15 ( นา –5 ไปหาร –15 ได้ 3) –5 x > 3 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 3 0 3
- 19. ตรวจคาตอบ5) เลือก x = 5 จากอสมการ 3 – 4 ( –x5) < + 8 x 3–4( 5 –5 ) < 5 +8 3 – 4(0) < 13 3 –0 < 13 3 < 13 จริ ง
- 20. ตัวอย่างที่ 6) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 5 + 3(7 + x) x + 14 แนวคิด มีวงเล็บต้ องใช้ สมบัติแจกแจง a(b + c)=ab +ac หรื อคูณถอดวงเล็บวิธีทา 5 + 3(7 + x) x + 14 ( 3คูณ 7 +x ถอดวงเล็บได้ +21+3x ) 5 + 21 + 3x x + 14 (ทางซ้ ายกาจัด 5 และ 21 ทางขวากาจัด x )นา 5มาลบ 21 มาลบ และ นา x มาลบ ทั้งสองข้าง 3x – x 14 – 5 – 21 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย ) 2x –12 (ซ้ ายกาจัด 2 นา 2ไปหาร ) x –12 ( นา 2 ไปหาร –12 ได้ –6) 2 x –6 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่นอยกว่าหรื อเท่ากับ –6 ้ –6 0
- 21. ตรวจคาตอบ6) เลือก x = -6 จากอสมการ 5 + 3(7 + x x + 14 ) 5 + 3 ( 7 - 6 ) -6 + 14 5 + 3 (1) 8 5+ 3 8 8 = 8 จริ ง
- 22. ตัวอย่างที่ 7) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 8 – 3x 23 5วิธีทา 8 – 3 x 23 5 (ซ้ ายกาจัด 8 )นา 8 มาลบทั้งสองข้าง – 3 x 23– 8 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย ) 5 –3 x 15 (ซ้ ายกาจัด –3 นา–3 หาร นา 5 คูณ ) 5 5 x 15 ×(5) –3 ( นา –3ไปหาร 15 ได้ –5 แล้ ว คูณ 5 x –25 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่าหรื อเท่ากับ –25 – 25 0
- 23. ให้พิจารณา ศึกษา การแก้อสมการอสมการที่มีเครื่ องหมาย ≠ให้ใช้เครื่ องหมาย = แทนแล้วใช้สมบัติการเท่ากัน1. สมบัติการบวก และรวมถึงการลบ2. สมบัติการคูณ และรวมถึงการหารเมื่อได้คาตอบให้ใช้เครื่ องเดิมเป็ น ≠
- 24. ตัวอย่างที่ 8) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 2 – 3x ≠ 10 – xวิธีทา 2 – 3x ≠ 10 – x ให้ใช้ = แทน ≠ แล้วแก้สมการ ให้ 2 – 3x = 10 – x (ด้ านซ้ ายกาจัด 2 และด้ านขวากาจัด –x )นา 2 มาลบ และ นา x มาบวกทั้งสองข้าง –3x + x = 10 – 2 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย > ) –2x = 8 x = –2 8 ( นา –2 ไปหาร 8 ได้ –4 ) x = –4 (เปลี่ยนจาก = คืนเป็ น ≠ ) x ≠ –4 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนยกเว้น –4 –4 0
- 25. ให้นกเรี ยนฝึ กแก้อสมการ ันักเรี ยนทาลงใน - กระดาษที่มีอยู่หรื อ - สมุดแบบฝึ กหัดของนักเรี ยน
- 26. แบบฝึ กหัดที่ 5.2 จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟต่อไปนี้ 1) 5 – 3x > 56 2) 16x + 3 103 – 4x 3) 17 – 8x > 56 + 5x 4) 5(9 – x) 4(x + 18) 5) 2(x + 3) – 5(x – 1 ) 6) 2/3x – 4 < 14
- 27. เฉลย แบบฝึ กหัด 1) x < –17 2) x 5 3) x < – 34) x – 45) x < – 76) x < 27 ต้องทาได้อย่างน้อย 4 ข้อ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น